วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2561

ภาคการทำงายโทรศัพท์เคลื่อนที่

ภาคการทำงานโทรศัพท์เคลื่อนที่

1.ภาค BB หรือ ภาค Baseband
ระบบเครือข่ายแบบเบสแบนด์ (Baseband)
จะเป็นการสื่อสารข้อมูลที่สายสัญญาณหรือตัวกลางในการส่งผ่านสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสัญญาณในเวลาขณะใดขณะหนึ่งเท่านั้น นั่นคือ อุปกรณ์ที่ใช้งานสายสัญญาณในขณะนั้นจะครอบครองช่องสัญญาณทั้งหมดโดยอุปกรณ์อื่นจะไม่สามารถร่วมใช้งานได้เลย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ ระบบโทรศัพท์ เป็นต้น ซึ่งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ส่วนมากจะเป็นการสื่อสารแบบ Baseband รวมทั้งการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์อื่น ๆ(เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ) การสื่อสารผ่าน modems และการสื่อสารผ่านเครือข่ายหลักๆ ด้วย ยกเว้นเครือข่ายแบบ B-ISDN ที่เป็นแบบ Broadband
Baseband  คือการเข้ารหัส ทางดิจิตอล โดยมีค่าทางไฟฟ้า 0 และ 1 โดยแบ่งออกเป็ตามมาตรฐาน ต่างๆ ดังนี้ 10 Base 5 , 10 ฺBase 2 ,10 Base-T, 1Base5 และ 100ฺBase-T โดยตามมาตรฐานคือการส่งสัญญาณ 10 Base xx คือ 10 Mbps ส่วนด้านหลังคือความยาวของสาย เช่น 100Base -T คือ ความเร็ว 100 Mbps ใช้บนสาย Pair หรือสายแลน โดย   Baseband   จะใช้วิธีการส่ง คือช่องสื่อสารเดียว ซึ่งแตกต่างกับ แบบ  Broadband ที่ สายสัญญาณ 1 เส้น สามารถ ใช้ได้หลายๆช่องสัญญาณ ด้วยเทคนิคดังกล่าวจะเห็นได้ว่าค่ายๆ บริษัทอินเตอร์เน็ต นำมาใช้กันเพราะช่วยลดค่าใช้จ่าย และการบำรุงรักษา ได้เป็นอย่างดี
        การเข้ารหัส โดยสัญญาณด้านบนเป็น สัญญาณ นาฬิกา นำมา โดยสัญญาณแบบ Multiplex ได้มาจาก  modulator  NRZ(L) Exclusive OR หรือ Mod 2 ADDโดยเราจะพบว่า Base Band เป็นการเข้ารหัส ทางดิจิตอล จากต้นทาง  ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็น ในมือถือ หรือ Smart Phone ก็ยังใช้ Base Brand ยุเพราะจะส่งสัญญาณ แนวเส้นคลื่นแบบ FM  แต่ก็มีข้อจำกัดทางความเร็วเพราะ เป็นการส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว  หรือเทคโนโลยี CSMA/CD (Carrier SensMultipleAccess/Collision Detection) แปลเป็นไทยคือการส่งสัญญาณโดยใช้คลื่นพาหนะแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นตัวนำ


2.ภาค UI หรือ User Interface
UI User Interface หมายถึง ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ ฯ
ที่ทำหน้าที่เชื่อมประสานระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์กับตัวเครื่องในระบบfvl
ก็มีสัญลักษณ์ > (prompt) ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ถ้าเป็นระบบวินโดว์
ก็หมายถึง สัญรูป (icon) ถ้าเป็นฮาร์ดแวร์ ก็หมายถึง จอภาพ และเมาส์
(mouse)

สิ่งที่มีไว้ให้ผู้ใช้ใช้ในการกระทำกับระบบหรือสิ่งของต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครื่องจักร เครื่องกล อุปกรณ์ใช้ไฟฟ้าใดๆ หรือระบบที่มีความซับซ้อนอื่นๆ เพื่อให้สิ่งๆนั้นทำงานตามความต้องการของผู้ใช้
ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้สามารถจัดได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ได้แก่
ส่วนที่นำข้อมูลเข้า หรือส่วนสั่งงาน เรียกว่า อินพุต (input)
ส่วนที่ใช้แสดงผลลัพธ์ หรือส่วนที่ไว้รอคำสั่งจากผู้ใช้ เรียกว่า เอาต์พุต (output)

3.แฟลชคอนเนกเตอร์ Flash connector
ตัวเชื่อมต่อ Compact Flash ถูกรวมเข้ากับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาเพื่อรองรับการจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ CompactFlash (CF) เป็นรูปแบบอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ที่ใช้ในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพา ตัวเชื่อมต่อ CompactFlash ยังคงได้รับการสนับสนุนจากอุปกรณ์สิ้นเปลืองสำหรับผู้บริโภคระดับไฮเอนด์และในงานระดับมืออาชีพ CompactFlash ยังคงเป็นส่วนสำคัญในอุปกรณ์ต่างๆเช่นกล้องดิจิตอล CFast เป็นรูปแบบ CompactFlash ที่ใช้บัส Serial ATA
ตัวเชื่อมต่อแฟลชสำหรับพีซีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และตั้งชื่อว่า "PC" ประเภทนี้เป็นเวลากว่า 30 ปี PC หรือ Prontor / Compur ซ็อกเก็ตการซิงค์แฟลชภายนอกและในขณะที่ฉันเคยเป็นมาตรฐานสำหรับกล้องทั้งหมดยกเว้นกล้องที่ง่ายที่สุดวันนี้มีเพียงกล้องที่ดีที่สุดเท่านั้น
ตัวเชื่อมต่อแฟลชของ PC ถูกคิดค้นขึ้นในปี 1950 โดยผู้ผลิตบานเกล็ดสองแห่งคือ Gauthier และ Deckel เป็นวิธีการเชื่อมต่อแฟลชภายนอกเข้ากับชัตเตอร์แบบมาตรฐานเพื่อให้ชัตเตอร์สามารถทำข้อมูลให้ตรงกันกับแฟลชได้อย่างน่าเชื่อถือ มีซ็อกเก็ตแกนร่วมขนาด 3.5 มม. (1/8 นิ้ว) ที่เสียบปลั๊กและตะกั่วเสริมเข้ากับแฟลช แม้จะมีการกำหนดโดยองค์การมาตรฐานสากล (ISO 519)
ในปีพศ. ศ. 2550 เครื่องเชื่อมต่อแฟลชของ PC ให้บริการบานมิด - ใบซึ่งจะต้องเปิดให้เต็มที่ก่อนที่จะมีการเปิดใช้งานแฟลช ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาชัตเตอร์ระนาบโฟกัสก็เข้าครอบงำ แต่ทำงานได้ดีกับเหล่านี้ กว่า 60 ปีในโปรและกึ่งโปรกล้องยังคงมีขั้วต่อเพื่อให้สามารถเชื่อมต่อกับระบบแฟลชสตูดิโอเช่นเดียวกับโปรแฟลชหน่วยในวงเล็บ การอยู่รอดของตนในช่วงระยะเวลาอันยาวนานนี้ลดลงไปถึงความเรียบง่ายและต้นทุนต่ำและแพร่หลาย
อย่างไรก็ตามในฐานะที่เป็นช่างภาพมืออาชีพที่มีประสบการณ์ทราบว่าช่องเชื่อมต่อแฟลชของ PC อาจไม่เป็นที่น่าเชื่อถือถ้าคุณภาพของปลั๊กและส่วนติดต่อไม่ดีหรือชำรุด
อาจเป็นปัญหาใหญ่ที่สุดที่ผู้คนต้องสูญเสียฝาครอบพลาสติกขนาดเล็กที่ป้องกันขั้วต่อ วันของการเชื่อมต่อแฟลช PC อาจมีหมายเลขเป็นสัญญาณไร้สายของแฟลชอิเล็กทรอนิกส์ภายนอกกลายเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น แต่ในขณะนี้ยังคงให้วิธีที่ง่ายและราคาไม่แพงในการส่องสว่างฉากในเวลาที่เหมาะสม

4.Head set และ charger connector
หูฟัง (อังกฤษheadphone) เป็นอุปกรณ์เครื่องเสียงชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในประเภทอุปกรณ์แสดงผลข้อมูลในรูปแบบเสียง โดยมีหน้าที่คล้ายกับลำโพง ประกอบด้วยตัวหูฟัง จะได้ยินเสียงเมื่อนำไปครอบกับหู และไมโครโฟนขนาดเล็กในตัวสำหรับใช้สำหรับติดต่อสื่อสารเพื่อการพูดได้ เช่นทางโทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น รวมถึงใช้เป็นสิ่งบันเทิงในการฟังเพลงเล่นวิดีโอเกมส์ ปรับให้เข้ากับกระบวนการทำงานต่าง ๆ ที่ต้องใช้เสียง สามารถพกพาไปในสถานที่ต่าง ๆ ได้เพราะมีน้ำหนักเบา
การเลือก Headset ควรคำนึงถึงอะไรบ้าง
อุปกรณ์ Headsetควรจะมีน้ำหนักเบา
รูปแบบของ Headset ไม่ใหญ่เทอะทะ ใช้งานสะดวก
วัสดุของอุปกรณ์ Headsetแข็งแรงทนทาน
สามารถปรับขนาดเมื่อสวมศีรษะให้ใหญ่หรือเล็กได้ 
เมื่อสวมใส่แล้วไม่บีบหรือกดบริเวณศีรษะเกินไป
ส่วนหูฟังจะต้องได้ยินเสียงที่ชัดเจนไม่มีเสียงรบกวน
ส่วนไมค์เมื่อเปล่งเสียงแล้วปลายทางได้ยินชัด เสียงรอบข้างไม่ควรจะดังกว่าผู้พูด ในบางรุ่นอาจมีตัดเสียงรบกวนรอบข้าง
การเลือก Headset ที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก อุปกรณ์ Headset ที่ดีมีคุณภาพ จะมีส่วนช่วยให้การสนทนาระหว่างเจ้าหน้าที่ Call Center และลูกค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ก่อให้เกิดปัญหาในการสื่อสารที่ไม่ชัดเจน
 
การดูแลรักษา Headset
ควรทำความสะอาดบริเวณหูฟังและไมค์ ก่อนใช้งานและหลังจากใช้งานทุกครั้ง เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค และป้องกันฝุ่นละอองที่อาจจะเข้าไปอุดตันได้
ระวังไม่ให้อุปกรณ์ Headset หล่นกระแทรก เพราะอาจก่อให้เกิดความเสียหาย อุปกรณ์เกิดชำรุด ไมค์มีเสียงรบกวน หูฟังเสียงแตกได้ยินไม่ชัดเจน
ส่วนสายของอุปกรณ์ หลังจากวางสายลูกค้าทุกครั้ง ควรเก็บสายให้เรียบร้อย เพราะสายที่ยาวนั้นอาจทำให้เจ้าหน้าที่สะดุด และรั้งให้อุปกรณ์ Headset ตกลงมากระแทกพื้นได้
ไม่ควรวางอุปกรณ์ Headset อย่างแรง จากประสบการณ์ของผู้เขียนเคยมี เจ้าหน้าที่ Call Center วางส่วนหูฟังและไมค์ของ Headset อย่างแรง บนโต๊ะทำงาน ด้วยอารมณ์ที่โมโหลูกค้า (ถึงแม้ว่าลูกค้าที่สนทนาก่อนหน้านั้นจะไม่ได้ยิน เพราะวางสายก่อน) แต่พฤติกรรมแบบนี้ก่อให้เกิดตวามเสียหายต่ออุปกรณ์สำคัญนี้ได้ 
การดูแลรักษาที่ถูกวิธีจะช่วยยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ Headset ได้ เพราะเจ้าหน้าที่ Call Center ในบางแห่งอาจต้องใช้งาน อุปกรณ์ Headset ร่วมกัน
 
จะเห็นได้ว่าอุปกรณ์ Headset มีความสำคัญมาก สำหรับเจ้าหน้าที่ Call Center นอกจากจะต้องใช้อุปกรณ์นี้เป็นเวลาหลายชั่วโมงต่อวันแล้ว คุณสมบัติที่ดีเหมาะกับการใช้งานก็มีส่วนสำคัญที่ช่วยให้การทำงานเป็นไปอย่างราบรื่น และการดูแลรักษาที่ดี จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาอีกด้วย


EV Charger หรือ สถานีชาร์จรถไฟฟ้า ทำหน้าที่เป็นตัวชาร์จพลังงานไฟฟ้าให้กับแบตเตอรี่รถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า โดยสามารถแบ่งการชาร์จออกเป็น 2 ประเภท คือ Normal Charge และ Quick Charge

1. Normal Charge เป็นการชาร์จด้วยไฟ AC โดยชาร์จผ่าน On Board Charger ที่ยู่ภายในตัวรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งทำหน้าที่ในการแปลงไฟ AC ไปเป็นไฟ DC ขนาดของตัว On Board Charger จะขึ้นอยู่กับยี่ห้อรถยนต์ ซึ่งขนาดของ On Board Charger จะมีผลต่อระยะเวลาในการชาร์จไฟของแบตเตอรี่รถยนต์
ยกตัวอย่างเช่น รถยนต์ไฟฟ้าที่มีแบตเตอรี่รถยนต์ขนาด 24 KWh และมี On Board Charger ขนาด 3KW ระยะเวลาในการชาร์จจะอยุ่ที่ 8 ชั่วโมง

2. Quick Charge จะเป็นการชาร์จโดยใช้ตู้ EV Charger (สถานีชาร์จรถไฟฟ้า) ที่แปลงไฟ AC ไปเป็นไฟ DC แล้วจ่ายไฟ DC เข้าที่แบตเตอรี่รถยนต์ไฟฟ้าโดยตรง ซึ่งระยะเวลาที่ใช้ในการชาร์จจะน้อยกว่าแบบ Normal Charger หัวชาร์จ (SOCKET) ของตู้ EV Charger จะมีทั้งแบบที่เป็น AC และ แบบ DC ประเภทของหัวชาร์จจะขึ้นอยู่กับมาตรฐานของผู้ผลิตรถยนต์
ยกตัวอย่างเช่น รถยนต์ไฟฟ้าที่มีแบตเตอรี่รถยนต์ขนาด 24kWh โดยใช้ตู้ EV Charger แบบ Quick Charge ที่มีกำลังชาร์จอยู่ที่ 50kW ระยะเวลาในการชาร์จจะอยู่ที่ไม่เกิน 1/2 ชั่วโมง

การเลือกติดตั้ง EV Charger ให้เหมาะสมกับการใช้งาน

การติดตั้งอุปกรณ์ EV Charger ตามสถานที่ต่างๆ จะเลือกตามความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการชาร์จ ยกตัวอย่างเช่น บ้านพัก ควรติดตั้ง EV Charger แบบ AC ก็เพียงพอ ถึงจะใช้เวลาในการชาร์จนาน แต่เวลาที่เราใช้ภายในบ้านก็ค่อยข้างนานเช่นกัน หรือ ถ้าต้องการตั้งเป็นสถานี EV Charger ที่ต้องการความเร็วในการชาร์จ ก็สามารถเลือกเป็นการชาร์จแบบ DC ซึ่งมีระดับการชาร์จถึง 3 ระดับ คือ DC destination , DC fast และ DC High Power ระยะเวลาที่ใช้ในการชาร์จจะน้อยลงตามลำดับ

วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2561

ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

ผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

ให้บริการระบบ NMT470 (ปัจจุบันปรับระบบไปใช้เป็นโครงข่าย โทรศัพท์สาธารณะเคลื่อนที่ และใช้เป็นระบบโทรศัพท์เพื่อให้บริการแก่ประชาชนในเขตนอกข่ายสายและถิ่นทุรกันดาร โดยใช้เป็นโทรศัพท์ประจำที่ติดตั้งภายในอาคาร มีสายอากาศรับสัญญาณ ภายหลัง พ.ศ. 2551 จึงได้ปรับระบบเป็น CDMA 2001X[3] ให้บริการระบบ 3G บนโครงข่าย HSPA บนความถี่ 1900MHz(ความถี่ ThaiMobile เดิม) และความถี่ 2100MHz(ความถี่ทดลอง) ในชื่อ TOT3G ในพื้นที่ กทม.
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)
เจ้าของโครงข่าย และให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ 2 เครือข่าย ในระบบ 3G บนเทคโนโลยี CDMA 2000 1x EV-DO ภายใต้ชื่อ "CATCDMA" สำหรับบริการทางเสียงและ SMS ของ CAT CDMA ใช้งานได้ 77 จังหวัดทั่วประเทศ สำหรับบริการอินเทอร์เน็ตและสื่อสารข้อมูล ใช้งานได้ 52 จังหวัด ในพื้นที่ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และใต้ ได้แก่ เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน ชัยนาท นครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อำนาจเจริญ หนองบัวลำภู ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย บึงกาฬ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร ชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต สุราษฏร์ธานี สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส[4] และให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ 3G บนเทคโนโลยี HSPA ความถี่ 850 MHz ภายใต้ชื่อ "มาย" (My) เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2555 ปัจจุบันเปิดให้บริการครอบคลุมพื้นที่ 77 จังหวัด[5]
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)
รับสัมปทานให้บริการระบบ NMT900 จาก บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ในชื่อ CELLULAR 900 (ปัจจุบันยกเลิกการให้บริการแล้ว) ปัจจุบันให้บริการระบบ GSM บนความถี่ 900MHz โดยรับสัมปทานจาก บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ในชื่อ GSM Advance และ One-2-Call GSM Advance และ One-2-Call ให้บริการทางเสียงและสื่อสารข้อมูล ครอบคลุมพื้นที่ 77 จังหวัด บนเทคโนโลยี EDGE/GPRS ความถี่ 900 MHz และ 3G บนเทคโนโลยี HSPA ความถี่ 900 MHz ปัจจุบันทดลองให้บริการอินเทอร์เน็ตและสื่อสารข้อมูล 4G บนเทคโนโลยี LTE โดยร่วมกับ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ทดสอบระบบในกรุงเทพฯ (บริเวณถนนพระรามที่ 1) ตั้งแต่หน้ามาบุญครองถึงเซ็นทรัลเวิลด์ รวมถึงบริเวณแจ้งวัฒนะในพื้นที่กระทรวงไอซีที ศูนย์ราชการ และสำนักงานทีโอที ใช้ย่านความถี่ 2300 MHz แบบ Time Division Duplex (TDD) ที่แบนด์วิดท์ 20 MHz จะทดสอบการให้บริการบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสูง (BWA) มีสถานีฐานทั้งหมด 20 แห่ง [6]
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส
ให้บริการในระบบ GSM บนความถี่ 1800 MHz ภายใต้ชื่อ GSM1800 โดยรับสัมปทานจาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) (ผ่านการซื้อกิจการของ บริษัท ดิจิตอลโฟน จำกัด ซึ่งเป็นโครงข่ายในชื่อการค้า Hello เดิม) เปิดให้บริการทางเสียงและสื่อสารข้อมูล บนเทคโนโลยี EDGE/GPRS ความถี่ 1800 MHz ปัจจุบันทดลองให้บริการอินเทอร์เน็ตและสื่อสารข้อมูล 4G บนเทคโนโลยี LTE โดยร่วมมือกับ บมจ.กสท โทรคมนาคม ทดสอบระบบ 4G ในจังหวัดมหาสารคาม บริเวณมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ใช้ความถี่ 1800 MHz แบบ Frequency Division Duplex (FDD) ที่แบนด์วิดท์ 10 MHz มีสถานีฐานทั้งหมด 8 แห่ง
รับสัมปทานให้บริการระบบ AMPS 800 Band-B จาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ในชื่อ Wordphone 800 (ปัจจุบันยกเลิกการให้บริการแล้ว) รับสัมปทานให้บริการระบบ GSM บนความถี่ 1800 MHz จากบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ในชื่อ Wordphone 1800 ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น "ดีแทค" (DTAC) ในระบบจดทะเบียน และ "แฮปปี้" (Happy) ในระบบเติมเงิน ดีแทคให้บริการทางเสียงและสื่อสารข้อมูล ครอบคลุมพื้นที่ 77 จังหวัด บนเทคโนโลยี EDGE/GPRS ความถี่ 1800 MHz และ 3G บนเทคโนโลยี HSPA ความถี่ 850 MHz ปัจจุบันกำลังทดลองให้บริการอินเทอร์เน็ตและสื่อสารข้อมูล 4G บนเทคโนโลยี LTE
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)
รับสัมปทานให้บริการระบบ GSM บนความถี่ 1800 MHz จากบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ปัจจุบันให้บริการ 3G บนโครงข่าย HSPA ความถี่ 850 MHz ในบริเวณบางพื้นที่ของ กทม. และ พัยา เชียงใหม่ ภูเก็ต [7] สัมปทานจะสิ้นสุดในปี พ.ศ. 2556
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บริษัท ทรูมูฟ จำกัด
ผู้ขายต่อบริการ (Reseller) ของบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ HSPA ในความถี่ 850 MHz และบริการ 3G ในเชิงพาณิชย์ ภายใต้ชื่อ “ทรูมูฟ เอช” (Truemove H) ให้บริการทางเสียงและสื่อสารข้อมูล ครอบคลุมพื้นที่ 77 จังหวัด [8]
ตัวแทนผู้ให้บริการด้านการตลาด โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ CDMA20001x ในพื้นที่ กรุงเทพฯ และ 25 จังหวัดจาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ภายใต้แบรนด์ฮัทช์ (HUTCH) ปัจจุบันกลุ่มทรูคอร์ปอเรชั่นและกสท. โดยบริษัทเรียล มูฟ จำกัด และบริษัท เรียล ฟิวเจอร์ จำกัด ได้เข้าซื้อกิจการและโครงข่าย เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2553 ของบริษัท ฮัทชิสัน ไวร์เลส มัลติมีเดีย โฮลดิ้งส์ จำกัด หรือ HWMH และ บริษัท บีเอฟเคที (ประเทศไทย) จำกัด หรือ BFKT[9]
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด หรือ ฮัทช์
เป็นบริษัทที่ก่อตั้งโดยการลงทุนร่วมกันระหว่าง บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) เพื่อให้บริการระบบ GSM บนความถี่ 1900MHz ในพื้นที่ กทม. แต่ไม่ประสบความสำเร็จในการให้บริการ ต่อมาบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ได้ทำการซื้อหุ้นจาก บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) 49% กลับมาทั้งหมด เพื่อต้องการให้ได้สิทธิ์ในการบริหารและสิทธิ์การให้บริการ เพื่อนำความถี่ GSM1900 MHz มาพัฒนาระบบระบบ 3G (ปัจจุบันได้ให้บริการระบบ 3G ในความถี่นี้แล้ว และได้ยกเลิกระบบ GSM1900 ในระบบ 2.75G)